แบบฝึกหัด
บทที่ 1 (กิจกรรม1)
กลุ่มที่เรียน 1
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
รหัสวิชา 0026 008
ชื่อ –สกุล นางสาวณัฐกาญจน์
ศิริภา รหัส 56010214120
จงเติมในช่องว่างว่าข้อใดเป็นข้อมูล
หรือสารสนเทศ
1.ข้อมูลหมายถึง….ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ
2.ข้อมูลปฐมภูมิคือ ….คือ สารสนเทศที่ได้มาจากต้นแหล่งโดยตรง เป็นสารสนเทศทางวิชาการ
ผลของการศึกษาค้นคว้า วิจัย รายงาน การค้นพบทฤษฎีใหม่ ๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ซึ่งนำไปสู่การยอมรับเป็นทฤษฎีใหม่ที่เชื่อถือได้
สารสนเทศประเภทนี้มักจะถูกถ่ายทอดออกมาในลักษณะของสิ่งพิมพ์ ยกตัวอย่างประกอบ….เช่น วารสาร รายงานการวิจัย
3.ข้อมูลทุติยภูมิคือ….คือ สารสนเทศที่มีการรวบรวม เรียบเรียงขึ้นใหม่จากแหล่งสารสนเทศปฐมภูมิ
มักจะอยู่ในรูปแบบการสรุป ย่อเรื่อง จัดหมวดหมู่ ทำดรรชนีและสาระสังเขป
เพื่อประโยชน์ในการเข้าถึงและสามารถใช้ข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
ยกตัวอย่างประกอบ….ได้แก่ สื่ออ้างอิงประเภทต่าง ๆ
วารสารที่มีการสรุปย่อและตีความ รวมถึงหนังสือ ตำรา
ที่รวบรวมเนื้อหาวิชาการในการเรียนการสอน สารานุกรม พจนานุกรม รายงานสถิติต่าง ๆ
ดรรชนีและสาระสังเขป
4.สารสนเทศหมายถึง….ข้อมูล ข่าวสาร ที่ได้มีการจัดการไม่ว่าจะเป็นการคิดคำนวณ
ประมวลผลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์
ได้มีการคัดเลือกสรรและนำไปใช้ให้ทันต่อความต้องการในการใช้งาน และทันเวลา
5.จงอธิบายประเภทของสารสนเทศ….การจำแนกประเภทของสารสนเทศได้มีการจำแนกออกเป็น
ตามแหล่งสารสนเทศและตามสื่อที่จัดเก็บ ดังนี้ คือ
1.สารสนเทศจำแนกตามแหล่งสารสนเทศ
เป็นการจำแนกสารสนเทศตามการรวบรวมหรือจัดกระทำกับสารสนเทศ จำแนกได้ดังนี้
1.1 แหล่งปฐมภูมิ (Primary
Source) คือ สารสนเทศที่ได้มาจากต้นแหล่งโดยตรง
เป็นสารสนเทศทางวิชาการ ผลของการศึกษาค้นคว้า วิจัย รายงาน การค้นพบทฤษฎีใหม่ ๆ
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ซึ่งนำไปสู่การยอมรับเป็นทฤษฎีใหม่ที่เชื่อถือได้
สารสนเทศประเภทนี้มักจะถูกถ่ายทอดออกมาในลักษณะของสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร
รายงานการวิจัย รายงานการประชุมมและสัมมนาวิชาการ สิทธิบัตร เอกสารมาตรฐานต่าง ๆ
ต้นฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ วิทยานิพนธ์ และการถ่ายทอดทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
1.2 แหล่งทุติยภูมิ (Secondary
Source) คือ สารสนเทศที่มีการรวบรวม
เรียบเรียงขึ้นใหม่จากแหล่งสารสนเทศปฐมภูมิ มักจะอยู่ในรูปแบบการสรุป ย่อเรื่อง
จัดหมวดหมู่ ทำดรรชนีและสาระสังเขป
เพื่อประโยชน์ในการเข้าถึงและสามารถใช้ข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ได้แก่
สื่ออ้างอิงประเภทต่าง ๆ วารสารที่มีการสรุปย่อและตีความ รวมถึงหนังสือ ตำรา
ที่รวบรวมเนื้อหาวิชาการในการเรียนการสอน สารานุกรม พจนานุกรม รายงานสถิติต่าง ๆ
ดรรชนีและสาระสังเขป
1.3 แหล่งตติยภูมิ (Tertiary
Source) คือ สารสนเทศทีจัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการค้นหาสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมและทุติยภูมิ
จะไม่ได้ให้เนื้อหาสาระโดยตรง
แต่จะมีประโยชน์ในการค้นหาสารสนเทศที่ให้ความรู้เฉพาะสาขาวิชา ได้แก่ บรรณานุกรม
นามานุกรม
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จึงได้มีการจัดเก็บบันทึกข้อมูลไว้ในสื่อคอมพิวเตอร์
มักจะออกนำเผยแพร่ในรูปของ CD-ROM ฐานข้อมูลออฟไลน์
2. สารสนเทศจำแนกตามสื่อที่จัดเก็บ
เป็นการจำแนกสารสนเทศตามชนิดของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล ข่าวสาร ความรู้
ได้แก่ กระดาษ วัสดุย่อส่วน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อแสง
2.1 กระดาษ
เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูล สารสนเทศ ที่ใช้ง่ายต่อการบันทีก
รวมทั้งการเขียนและการพิมพ์ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันจนถึงปัจจุบัน
2.2 วัสดุย่อส่วน
เป็นสื่อที่ถูกสำเนาย่อส่วนลงบนแผ่นฟิล์มชนิดต่าง ๆ ทั้งที่เป็นม้วนและเป็นแผ่น
มีการจัดเรียงลำดับเนื้อหาตามต้น เช่น เอกสารจดหมายเหตุ หนังสือพิมพ์ เอกสารสำคัญ
วิทยานิพนธ์ เป็นต้น
2.3 สื่ออิเล็กทรอนิกหรือสื่อแม่เหล็ก
เป็นวัสดุสังเคราะห์เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก
สามารถบันทึกและแก้ไขข้อมูลได้สะดวกทั้งข้อมูลที่เป็นแอนาล็อก และดิจิตอล เช่น
เทปวีดิทัศน์ เทปบันทึกเสียง ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
2.4 สื่อแสงหรือสื่อออปติก (Optical
Media) เป็นสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลและอ่านข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์
เช่น ซีดี-รอม ดีวิดี เป็นต้น ซึ่งมีความจุมากเป็นพิเศษ
6.ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเป็นตัวเลขข้อความรูปภาพเสียงคือ….ข้อมูล
7.ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลเป็น….ข้อมูลทุติยภูมิ
8.ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ละคนเป็น….ข้อมูลปฐมภูมิ
9.ผลของการลงทะเบียนเป็น….ข้อมูลทุติยภูมิ
10.กราฟแสดงจำนวนนิสิตในห้องเรียนวิชาวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวันSectionวันอังคารเป็น….ข้อมูลปฐมภูมิ
แบบฝึกหัด
บทที่ 2 บทบาทสารสนเทศกับสังคม กลุ่มที่เรียน
1
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
รหัสวิชา 0026 008
ชื่อ –สกุล นางสาวณัฐกาญจน์ ศิริภา รหัส 56010214120
คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ให้นิสิตหารายชื่อเว็บไซต์หรือเทคโนโลยีที่ให้บริการต่าง
ๆ ตามหัวข้อเหล่านี้มาอย่างละ 3 รายการ
1.1
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการศึกษา
1.2
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพธุรกิจ พาณิชย์
และสำนักงาน
- www.ocsc.go.th
- www.7eleven.co.th
-http://www.moc.go.th
1.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพการสื่อสารมวลชน
-สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย
-http://www.tja.or.th/index.php
-สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ
1.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางอุตสาหกรรม
- www.thairung.co.th
- www.nanasupplier.com
-www.industry.go.th
1.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางการแพทย์
- http://www.niems.go.th
- http://www.worldcommunitygrid.org
- www.healthfinder.gov
- http://www.worldcommunitygrid.org
- www.healthfinder.gov
1.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทหารตำรวจ
- www.police4.go.th
- www.rtsd.mi.th
- www3.navy.mi.th
1.7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพวิศวกรรม
- www.9engineer.com
- www.coe.or.th
- www.engineerthailand.com
- www.coe.or.th
- www.engineerthailand.com
1.8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพด้านเกษตรกรรม
- www.kasetporpeang.com
- www.doae.go.th
- thaiagris.lib.ku.ac.th
- www.doae.go.th
- thaiagris.lib.ku.ac.th
1.9
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับคนพิการต่าง ๆ
http://www.nep.go.th
http://www.braille-cet.in.th
http://www.tddf.or.th/
http://www.braille-cet.in.th
http://www.tddf.or.th/
2. มหาวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษาให้กับท่าน
มีอะไรบ้าง บอกมาอย่างน้อย 3 อย่าง
1.การยืม-คืนหนังสือของสำนักวิทยบริการ
2.ระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม www.reg.msu.ac.th
3.อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในห้องสมุด
3. ข้อ 2
จงวิเคราะห์ว่าท่านจะเอาเทคโนโลยีเหล่านั้น
มาทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองอย่างไรบ้าง
1.นำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียน
2.ใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าเรื่องต่างๆ
3.การยืม-คืนหนังสือ ที่มีตู้คืนหนังสืออยู่ด้านหน้าทำให้รวดเร็ว ไม่เสียเวลา
และสะดวกขึ้น
แบบฝึกหัด
บทที่ 3 การรู้สารสนเทศ
กลุ่มที่เรียน 1
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
รหัสวิชา 0026 008
ชื่อ –สกุล นางสาวณัฐกาญจน์
ศิริภา รหัส 56010214120
คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. ข้อใดเป็นความหมายที่ถูกต้องที่สุดของการรู้สารสนเทศ
ง. ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง
ประเมิน และใช้งานสารสนเทศ
2. จากกระบวนการของการรู้สารสนเทศ
ทั้ง 5 ประการ ประการไหนสำคัญที่สุด
ง.
ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
ค. ชอบใช้คอมพิวเตอร์ในการเล่นเกม
4.ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ
ค.
สารสนเทศมีการเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็ว จนยากที่จะเข้าถึง
5. ข้อใดเป็นการเรียงลำดับขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้สารสนเทศที่ถูกต้อง
1. ความสามารถในการประมวลสารสนเทศ
2. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
3. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4. ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
5. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการสารสนเทศ
2. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
3. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4. ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
5. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการสารสนเทศ
ค. 5-4-1-2-3
แบบฝึกหัด
บทที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มที่เรียน 1
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
รหัสวิชา 0026 008
ชื่อ –สกุล นางสาวณัฐกาญจน์
ศิริภา รหัส 56010214120
คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ให้นิสิตยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามหัวข้อต่อไปนี้
อย่างน้อยหัวข้อละ 3 ชนิด แล้วแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบกับเพื่อน
1) การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล
-ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
-RAM
-USB แฟลชไดรฟ์
2) การแสดงผล
-จอภาพ
-เครื่องฉายภาพ (LCD
Projector)
-เครื่องพิมพ์แบบจุด
3) การประมวลผล
-ซีพียู (CPU)
-เมนบอร์ด (Mainboard,
mother board)
- ชิปเซต ( Chip
Set)
4) การสื่อสารและเครือข่าย
-คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator)
-ฟรอนต์ – เอ็นโปรเซสเซอร์ FEP (Front-End Processor)
-โมเด็ม (MODEM)
2. ให้นิสิตนำตัวเลขในช่องขวา
มาเติมหน้าข้อความในช่องซ้ายที่มีความที่สัมพันธ์กัน
…3… ซอฟต์แวร์ประยุกต์
|
1. ส่วนใหญ่ใช้ทำหน้าที่คำนวณ ประมวลผลข้อมูล
|
…10… Information Technology
|
2. e-Revenue
|
…7… คอมพิวเตอร์ในยุคประมวลผลข้อมูล
|
3. เทคโนโลยีต่าง ๆ
ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินการเกี่ยวกับสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ความถูกต้องแม่นยำ และความรวดเร็วต่อการนำไปใช้
|
…4…เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย
|
4.มีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน ได้แก่ Sender Medium และDecoder
|
…1…ช่วยเพิ่มผลผลิต เพิ่มต้นทุน
และเพิ่มประสิทธิภาพในการททำงาน
|
5. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย
|
…8… ซอฟต์แวร์ระบบ
|
6. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
|
…9… การนำเสนอบทเรียนในรูปมัลติมีเดีย
ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองได้ตามระดับความสามารถ
|
7. โปรแกรมที่ทำหน้าที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ
ภายในระบบคอมพิวเตอร์
|
…6… EDI
|
8. โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
จัดเป็นซอฟต์แวร์ประเภท
|
…5… การสื่อสารโทรคมนาคม
|
9. CAI
|
…2…บริการชำระภาษีออนไลน์
|
10. ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
|
แบบฝึกหัด
บทที่ 5 การจัดการสารสนเทศ
กลุ่มที่เรียน 1
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
รหัสวิชา 0026 008
ชื่อ –สกุล นางสาวณัฐกาญจน์
ศิริภา รหัส 56010214120
คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1.จงอธิบายความหมายของการจัดการสารสนเทศ
การผลิต
จัดเก็บ ประมวลผล ค้นหา และเผยแพร่ สารสนเทศโดยจัดให้มีระบบสารสนเทศ
การกระจายของสารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยมีการนำเทคโนโลยีต่างๆ
โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมาใช้ในการจัดการ รวมทั้งมีนโยบาย หรือ
กลยุทธ์ระดับองค์การในการจัดการสารสนเทศ
2.การจัดการสารสนเทศมีความสําคัญต่อบุคคลและต่อองค์การอย่างไร
1 ความสำคัญของการจัดการสารสนเทศต่อบุคคล
การจัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อบุคคลในด้านการดำรงชีวิตประจำวัน
การศึกษา และการทำงานประกอบอาชีพ ต่างๆ การจัดการสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
โดยการจัดทำฐานข้อมูลส่วนบุคคล รวบรวมทั้งข้อมูลการดำรงชีวิต การศึกษา
และการทำงานประกอบอาชีพต่างๆ ในการดำรงชีวิตประจำวัน
บุคคลย่อมต้องการสารสนเทศหลายด้านเพื่อใช้ชีวิตได้อย่างราบรื่น มีความก้าวหน้า
และมีความสุข อาทิ ต้องการสารสนเทศเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพ
ต้องจัดการค่าใช้จ่ายในครอบครัว ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล
การดูแลอาคารที่อยู่อาศัยต่างๆ
ตลอดจนการเลี้ยงดูคนในครอบครัวให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ
2 ความสำคัญของการจัดการสารสนเทศต่อองค์การ
ความสำคัญด้านการบริหารจัดการ การบริหารจัดการในยุคโลกาภิวัตน์เป็นการบริหารภายใต้สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
และมีการแข่งขันกันทางธุรกิจสูง
ความสำคัญด้านการดำเนินงาน สารสนเทศนับมีความสำคัญต่อการดำเนินงานในหลายลักษณะ
เป็นทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการดำเนินงาน
และหลักฐานที่บันทึกการดำเนินงานในด้านต่างๆ ตามที่หน่วยงานดำเนินการ
ความสำคัญด้านกฎหมาย การจัดการสารสนเทศเพื่อการดำเนินงาน
จำเป็นต้องสอดคล้องกับกฎหมาย กฎ
ระเบียบและข้อบังคับทั้งในระดับภายในและภายนอกองค์การ
3.พัฒนาการของการจัดการสารสนเทศแบ่งออกเป็นกี่ยุค
อะไรบ้าง
การจัดการสารสนเทศโดยทั่วไป
แบ่งอย่างกว้างๆได้เป็น 2ยุค
เป็นการจัดการสารสนเทศด้วยระบบมือ และการจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพิวเตอร์
4.จงยกตัวอย่างการจัดการสารสนเทศที่นิสิตใช้ในชีวิตประจำวันมา
อย่างน้อย 3 ตัวอย่าง
1.การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่
2.การชำระค่าน้ำค่าไฟต่างๆ
ผ่านธนาคาร
3.ใช้บริการฝาก -
ถอนเงินจากเครื่องฝาก - ถอนเงินอัตโนมัติ หรือเอทีเอ็ม ( ATM)
แบบฝึกหัด
บทที่ 6 การประยุกต์ใช้สารสนเทศในชีวิตประจำวัน กลุ่มที่เรียน 1
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
รหัสวิชา 0026 008
ชื่อ –สกุล นางสาวณัฐกาญจน์
ศิริภา รหัส 56010214120
คำชี้แจง
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. การประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นความหมายของข้อใด?
2. เทศโนโลยี
2. เทคโนโลยีสารสนเทศใดก่อให้เกิดผลด้านการเสริมสร้างความเท่าเทียมกันในสังคม?
3. การสร้างสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3. การฝากถอนเงินผ่านเอทีเอ็ม (ATM) เป็นลักษณะเด่นของเทคโนโลยีสารสนเทศข้อใด?
1. ระบบอัตโนมัติ
4. ข้อใดคือการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ?
4. ถูกทุกข้อ
5. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงข้อใด?
3. การนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์มาสร้างข้อมูลเพิ่มให้กับสารสนเทศ
6. เครื่องมือที่สำคัญในการในการจัดการสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร?
4. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ?
4. เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้มีการสร้างที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ
8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ช่วยงานด้านสารสนเทศ?
3. เครื่องมินิคอมพิวเตอร์
9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ?
3. ไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
10. ข้อใดคือประโยชน์ที่ได้จากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการเรียน?
4. ถูกทุกข้อ
1. การประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นความหมายของข้อใด?
2. เทศโนโลยี
2. เทคโนโลยีสารสนเทศใดก่อให้เกิดผลด้านการเสริมสร้างความเท่าเทียมกันในสังคม?
3. การสร้างสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3. การฝากถอนเงินผ่านเอทีเอ็ม (ATM) เป็นลักษณะเด่นของเทคโนโลยีสารสนเทศข้อใด?
1. ระบบอัตโนมัติ
4. ข้อใดคือการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ?
4. ถูกทุกข้อ
5. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงข้อใด?
3. การนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์มาสร้างข้อมูลเพิ่มให้กับสารสนเทศ
6. เครื่องมือที่สำคัญในการในการจัดการสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร?
4. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ?
4. เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้มีการสร้างที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ
8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ช่วยงานด้านสารสนเทศ?
3. เครื่องมินิคอมพิวเตอร์
9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ?
3. ไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
10. ข้อใดคือประโยชน์ที่ได้จากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการเรียน?
4. ถูกทุกข้อ
แบบฝึกหัด
บทที่ 7 ความปลอดภัยของสารสนเทศ กลุ่มที่เรียน
1
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
รหัสวิชา 0026 008
ชื่อ –สกุล นางสาวณัฐกาญจน์
ศิริภา รหัส 56010214120
คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1.หน้าที่ของไฟร์วอลล์
(Firewall) คือ
ทำหน้าที่เป็นเครื่องมือรักษาความปลอดภัยให้กับเครือข่ายภายใน (Internet) โดยป้องกันผู้บุกรุก (Intrusion) ที่มาจากเครือข่ายภายนอก (Internet) หรือเป็นการกำหนดนโยบายการควบคุมการเข้าถึงระหว่างเครือข่ายสองเครือข่าย
โดยสามารถกระทำได้โดยวิธีแตกต่างกันไป แล้วแต่ระบบ
2.จงอธิบายคำศัพท์ต่อไปนี้
ที่เกี่ยวข้องกับไวรัสคอมพิวเตอร์ worm , virus computer, spy ware, adware
มาอย่างน้อย 1 โปรแกรม
Worm (หนอนอินเตอร์เน็ต) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เช่นเดียวกับโปรแกรมไวรัส
แต่แพร่กระจายผ่านเครือข่ายไปยังคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครื่องอื่น ๆ
ที่ต่ออยู่บนเครือข่ายด้วยกัน ลักษณะการแพร่กระจายคล้ายตัวหนอนที่เจาะไชไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง
ๆ แพร่พันธุ์ด้วยการคัดลอกตัวเองออกเป็นหลาย ๆ โปรแกรม
และส่งต่อผ่านเครือข่ายออกไป และสามารถแพร่กระจายผ่านทางอีเมล์ได้ ไม่ว่าจะเป็น Outlook
Express หรือ Microsoft Outlook เช่น
เมื่อมีผู้ส่งอีเมล์และแนบโปรแกรมติดมาด้วย ในส่วนของ Attach file ผู้ใช้สามารถคลิ๊กดูได้ทันที
การคลิ๊กเท่ากับเป็นการเรียกโปรแกรมที่ส่งมาให้ทำงาน ถ้าสิ่งที่คลิ๊กเป็นเวิร์ม
เวิร์มก็จะแอกทีฟ และเริ่มทำงานทันที
โดยจะคัดลอกตัวเองและส่งจดหมายเป็นอีเมล์ไปให้ผู้อื่นอีก
3. ไวรัสคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ชนิด
อะไรบ้าง
ไวรัสตอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นสองชนิดใหญ่
ๆ ได้แก่ Application viruses และ System
viruses
1) Application viruses จะมีผลหรือมีการแพร่กระจายไปยังโปรแกรมประยุกต์ต่าง
ๆ อาทิเช่น โปรแกรมประมวลผลคำ(Word Processeng) หรือโปรแกรมตารางคำนวณ
เป็นต้น การตรวจสอบการติดเชื่อไวรัสชนิดนี้ทำได้โดยดูจากขนาดของแฟ้ม (File
size) ว่ามีขนาดเปลี่ยนไปจากเดิมมาน้อยแค่ไหน
ถ้าแฟ้มมีขนาดโตขึ้น
นั่นหมายถึงแฟ้มดังกล่าวอาจได้รับการติดเชื้อจากไวรัสชนิดนี้แล้ว
2) System viruses ไวรัสชนิดนี้จะติดหรือแพร่กระจายในโปรแกรมจำพวกระบบปฏิบัติการ Operating
systems) หรือโปรแกรมระบบอื่น ๆ
โดยไวรัสชนิดนี้มักจะแพร่เชื้อในขณะที่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
4.ให้นิสิตอธิบายแนวทางในการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์มาอย่างน้อย
5 ข้อ
1. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
2. ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัสที่เหมาะกับตัวเอง
3. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสให้เป็น
4. อัพเดตฐานข้อมูลไวรัส
(Definition) อยู่เสมอ
5. เปลี่ยนเวอร์ชันใหม่ทันทีที่มีโอกาส
5.มาตรการด้านจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน
ได้แก่
1) ICT Gate Keeper เฝ้าระวังพิษภัยอินเทอร์เน็ตบนเครือข่ายและวงจรเชื่อมต่อระหว่างประเทศ (Gateway) พัฒนาซอฟต์แวร์นี้โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงไอซีที
ได้มอบหมายให้บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด(มหาชน)
ดำเนินการเพื่อเฝ้าระวังปิดกั้นข้อมูบไม่เหมาะสมตั้งแต่ต้นทาง
2) House Keeper ซึ่งจัดทำเป็นแผ่นซีดีรอม
และแจกฟรีให้กับผู้ปกครองหรือดาวน์โหลดได้ฟรีจากเว็บไซต์ของกระทรวง โปรแกรมนี้จะมี
3 ส่วน
- ส่วนแรก คิดดี้แคร์
ปิดกั้นเว็บไซต์อนาจารและเว็บที่ไม่เหมาะสมที่กระทรวงไอซีที
มีข้อมูลคาดว่าจะช่วยป้องกันได้ในระดับหนึ่ง
- ต่อมาเป็นส่วนพีเพิลคลีน ติดไอคอนไวที่หน้าจอคอมพิวเตอร์
ผู้ใช้จะคลิกเข้าไปเมื่อพบภาพลามกอนาจาร
ประชาชนจึงสามารถเข้ามามีบทบาทช่วยเฝ้าระวังภัยได้เช่นกัน
- ส่วนสุดท้าย สมาร์ทเกมเมอร์ (Smart Gamer) แก้ปัญหาการติดแกม
และควบคุมการเล่นเกมของเด็ก ๆ
ผู้ปกครองจะเป็นผู้กำหนดระยะเวลาของการเล่นเกมและช่วยดูแลเรื่องความรุนแรงของเกม
แต่ละส่วนนี้คงต้องมีการปรับปรุงให้ทันสมัยตลอดเวลา
แบบฝึกหัด
บทที่ 8 การใช้สารสนเทศตามกฎหมายและจริยธรรม กลุ่มที่เรียน 1
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
รหัสวิชา 0026 008
ชื่อ –สกุล นางสาวณัฐกาญจน์
ศิริภา รหัส 56010214120
คำชี้แจง จงพิจารณากรณีศึกษานี้
1) “นาย A ทำการเขียนโปรแกรมขึ้นมาโปรแกรมหนึ่งเพื่อทดลองโจมตีการทำงานของคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ โดยทำการระบุ IP-Address โปรแกรมนี้สร้างขึ้นมาเพื่อทดลองในงานวิจัย นาย B ที่ เป็นเพื่อนสนิทของนาย A ได้นำโปรแกรมนี้ไปทดลองใช้แกล้งนางสาว C เมื่อนางสาว C ทราบเข้าก็เลยนำโปรแกรมนี้ไปใช้และส่งต่อให้เพื่อนๆ ที่รู้จักได้ทดลอง” การกระทำอย่างนี้ ผิดจริยธรรม หรือผิดกฎหมาย ใดๆ หรือไม่ หากไม่ผิดเพราะเหตุใด และหากผิด ผิดในแง่ไหน จงอธิบาย
1) “นาย A ทำการเขียนโปรแกรมขึ้นมาโปรแกรมหนึ่งเพื่อทดลองโจมตีการทำงานของคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ โดยทำการระบุ IP-Address โปรแกรมนี้สร้างขึ้นมาเพื่อทดลองในงานวิจัย นาย B ที่ เป็นเพื่อนสนิทของนาย A ได้นำโปรแกรมนี้ไปทดลองใช้แกล้งนางสาว C เมื่อนางสาว C ทราบเข้าก็เลยนำโปรแกรมนี้ไปใช้และส่งต่อให้เพื่อนๆ ที่รู้จักได้ทดลอง” การกระทำอย่างนี้ ผิดจริยธรรม หรือผิดกฎหมาย ใดๆ หรือไม่ หากไม่ผิดเพราะเหตุใด และหากผิด ผิดในแง่ไหน จงอธิบาย
ตอบ ในเรื่องนี้มีการทำผิดทางกฎหมาย มาตรา ๙
ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน
ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี
หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ หากทำโปรแกรมเพื่อทดลองโจมตีการทำงานของคอมพิวเตอร์และทำให้ผู้อื่นเสียหาย
และหากนาย B นำโปรแกรมไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตก็ผิดเช่นเดียวกัน
เพราะไม่ใช่โปรแกรมที่นำไปเผยแพร่ เป็นโปรแกรมสร้างมาเพื่อทดลองในงานวิจัย
ดังนั้นจึงผิดทั้งจริยธรรมและทางกฎหมาย โดยที่นางสาว Cก็ผิดเช่นเดียวกัน
2) “นาย J ได้ทำการสร้างโฮมเพจ เพื่อบอกว่าโลกแบนโดยมีหลักฐาน อ้างอิงจากตำราต่างๆ
อีกทั้ง รูปประกอบ เป็นการทำเพื่อความสนุกสนาน ไม่ได้ใช้ในการอ้างอิงทางวิชาการใดๆ
เด็กชาย K เป็นนักเรียน
ในระดับประถมปลายที่ทำรายงานส่งครูเป็นการบ้านภาคฤดูร้อนโดยใช้ข้อมูลจากโฮมเพจของนาย
J” การ กระทำอย่างนี้ ผิดจริยธรรม หรือผิดกฎหมายใดๆ หรือไม่
หากไม่ผิดเพราะเหตุใด และหากผิด ผิดในแง่ไหน จงอธิบาย
ตอบ ไม่มีความผิดตามมาตราใด เพราะ นาย J ไม่ได้กำหนดว่าไม่ให้เข้าหรือมีความผิดเมื่อทำการศึกษาค้นคว้า ดังนั้นนาย K ผู้ที่ใช้ข้อมูลจากโฮมเพจของนาย J จึงไม่มีความผิด